Knowledge Bank SPUC โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ค้นหาจากชื่อบทความ


บทความ รายละเอียด
  โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ชื่อเรื่อง การปรับปรุงประสิทธิภาพในการวางแผนคลังสินค้า
ผู้แต่ง มาณิตา ไชยสิทธิ์
คำสำคัญ การปรับปรุงประสิทธิภาพในการวางแผนคลังสินค้า
วันที่ 2562-07-20
บทคัดย่อ การทำโครงการในครั้งนี้ได้การปรับปรุงประสิทธิภาพในการวางแผนคลังสินค้า ของแผนกคลังสินค้า ของบริษัท บริษัท สยามนิสสันตะวันออก จำกัด เพื่อลดระยะเวลาในการจัดเก็บและเบิกจ่ายอะไหล่และอุปกรณ์ และเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการทางาน การศึกษาปัญหาที่พบคือให้บริการแก่ลูกค้าเนื่องจากมีการทำงานที่ไม่ตรงกับที่นัดหมายลูกค้าไว้ สาเหตุมาจากกระบวนการขั้นตอนการรับ การจัดเก็บ การเบิกจ่ายอะไหล่และอุปกรณ์ โดยมีข้อจำกัดเรื่องพนักงานที่มีเพียงแค่ 2 คน กรณีที่มีพนักงานคนใดคนหนึ่งไม่มาทำงานพนักงานก็ไม่สามารถปฏิบัติงานได้เทียบเท่ากับในเวลาที่มี 2 คนจึงได้มีการให้พนักงานจากหน่วยงานอื่นมาช่วยทำงานดังกล่าว เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างตามเป้าหมาย แต่ก็ยังมีข้อจากัดอีกที่ว่าบริษัทใช้เพียงรหัสที่เป็นภาษาอังกฤษ ที่พนักงานต้องจำ Code ที่มีหลายร้อยรายการซึ่งโอกาสที่มีความผิดพลาดก็มีสูง แผนผังก็บ่งบอกไม่ชัดเจน จึงได้เริ่มมีการจัดทำป้ายชี้บ่งที่เป็นตัวอักษรภาษาไทยที่มีชื่อรายการอะไหล่และอุปกรณ์ตรงตามเอกสารในระบบ DMS ที่ใช้ในการบันทึกรายการอะไหล่และอุปกรณ์ เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาตรวจเช็ครายการที่ต้องเบิกออก และแก้ไขแผนผังหน้าคลังสินค้าเพื่อบ่งบอกสถานที่จัดเก็บอะไหล่และอุปกรณ์ตามประเภทของอะไหล่ ดังนี้ ระบบไฟฟ้า อยู่ Zone A1 , อะไหล่เครื่องยนต์ อยู่ Zone A2, ระบบเบรค + ช่วงล่าง อยู่ Zone A3, ชุดอะไหล่กาลังส่ง อยู่ Zone A4, อะไหล่แอร์ อยู่ Zone A5, ชุดแต่งภายใน อยู่ Zone B1, กระทะล้อ + ยาง อยู่ Zone B2, ชุดแต่งภายนอก อยู่ Zone B3 ซึ่งจะช่วยป้องกันกรณีการเก็บอะไหล่และอุปกรณ์ผิดหมวดหมู่ เนื่องจากเดิมพนักงานจะต้องอาศัยความชำนาญในเรื่องพื้นที่ อะไหล่และอุปกรณ์ แต่หลังจากการปรับปรุงแล้วกรณีที่เจ้าหน้าที่คลังสินค้าไม่เพียงพอก็สามารถให้หน่วยงานอื่นมาช่วยงานได้โดยมีป้ายบ่งบอกชัดเจน รวมถึงยังช่วยลดเวลาในการเทรนนิ่งพนักงานใหม่ที่จะเข้ามาทางานในคลังสินค้าแห่งนี้ และยังช่วยลดระยะเวลาในการจัดเก็บและเบิกจ่ายอุปกรณ์ต่าง ๆ อีกทั้งยังสามารถนาไปเชื่อมโยงกับความพึงพอใจของลูกค้าที่เข้ามารับการบริการอีกด้วย จากการศึกษาพบว่าผลการปรับปรุงนั้นทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานคือ พนักงาน ทำงานได้เร็วขึ้น สามารถจัดเก็บเป็นหมวดหมู่มากขึ้น คิดเป็น100 % ลดระยะเวลาเวลาในการจัดเก็บเบิกจ่ายอะไหล่ของเจ้าหน้าที่คลังสินค้าจากเดิมใช้เวลา 11.78 นาที ลดลง 4.08 นาที คิดเป็น 34.63% ลดระยะเวลาในการจัดเก็บเบิกจ่ายอะไหล่ของพนักงานหน่วยงานอื่นจากเดิมใช้เวลา 23.57 นาที ลดลง 7.85 นาที คิดเป็น 33. 30%
เอกสารบทคัดย่อ ไม่พบเอกสาร..
URL คลิกที่นี่ ...
Call No Co-Ed LSM ม453ม 2561
เอกสาร กรุณาเข้าสู่ระบบหรือติดต่อเจ้าหน้าที่...library@chonburi.spu.ac.th <เข้าสู่ระบบ>
 
ชุมชนหลัก (Community):
กลุ่มข้อมูล( Collection): โลจิสติกส์และซัพพลายเชน

ผลการค้นหาทั้งหมด 400 บทความ
Title Author(s) Call No
การปรับปรุงแบบฟอร์ม Hourly Report กรณีศึกษา บริษัท เช้งเกอร์ (ไทย) จำกัด วลัย เลสกุล
Co-Ed LSM ก774ก 2561
การปรับปรุงการจัดวางเรียงเอกสารซ่อมบำรุงในคลังเอกสาร กรณีศึกษา สำนักงาน ฝ่ายเครื่องจักรกลก่อสร้างงานดินที่ 5 ณัฐฐา บุญศรี
Co-Ed LSM ณ328ก 2561
การปรับปรุงกระบวนการส่งมอบชิ้นส่วนระหว่างแผนก กรณีศึกษา:บริษัท พนัสแอสเซมบลีย์ จำกัด ดารารัตน์ ชื่นอารมณ์
Co-Ed LSM ด426ก 2561
การปรับปรุงผังการจัดเก็บในคลังอุปกรณ์ กรณีศึกษาบริษัท ซีเอชซี เคมิคอล จำกัด พรพิไล คำน้ำแดง
Co-Ed LSM พ255ก 2561
การปรับปรุงผังพื้นที่การจัดวางเอกสารและวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน กรณีศึกษา ระยองคอนโดเพล็กซ์ กอบกาญจน์ หยกพรายพันธ์
Co-Ed LSM ก608ก 2561
การปรับปรุงข้อมูลรายการบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้ในระบบ SAP กรณีศึกษา บริษัท คอนติเนนทอล ออโตโมทีฟ (ประเทศไทย) จำกัด พรพิมล ภักดีโชติ
Co-Ed LSM พ249ก 2561
การปรับปรุงประสิทธิภาพในการวางแผนคลังสินค้า มาณิตา ไชยสิทธิ์
Co-Ed LSM ม453ม 2561
การปรับปรุงกระบวนการคัดแยกพัสดุของแผนกคัดแยกภาคตะวันออก วิทยา พันกลั่น
Co-Ed LSM ว582ก 2561
การปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสาร e-SMART ISO กรณีศึกษา บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) อติกานต์ แสงศิลป์
Co-Ed LSM อ137ก 2561
การปรังปรุงระบบบริหารสินค้าคงคลังชิ้นส่วนอะไหล่ LINE CON โดยใช้เทคโนโลยี QR CODE ในการจ่ายสินค้า: กรณีศึกษา บริษัท พนัส แอสเซม บลีย์ จำกัด เอกพล เสียงสังข์
Co-Ed LSM อ875ก 2561
การปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวางบิล กนกพร คุ้มเณร
Co-Ed LSM ก124ก 2561
การปรับปรุงระบบการเบิก-จ่าย เครื่องมือในสโตร์ของบริษัท อินเตอร์จิ๊ก จำกัด กัณชกร ทรัพย์ทวี
Co-Ed LSM ก385ก 2561
การลดการขนส่งเที่ยวเปล่า กรณีศึกษาของ บริษัท ซีแอลเอฟ ทรานสปอร์ต จำกัด จักรพันธ์ จู๋แหลมฟ้า
Co-Ed LSM จ225ก 2561
การวิเคราะห์หาระดับสินค้าคงคลังสำรอง : กรณีศึกษา บริษัท วอล์คเกอร์ เอ็กซอสท์ (ประเทศไทย) จำกัด จิรัฐิติกาล รอดอยู่
Co-Ed LSM จ572ก 2561
การปรับปรุงการจัดวางเรียงอุปกรณ์ Safety ในคลังอะไหล่ ธิดารัตน์ หรั่งเมือง
Co-Ed LSM ธ582ก 2561
การจัดเส้นทางเดินรถขนส่งสินค้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน กรณีศึกษา คลังสินค้า ซี.เอ็น. ทรานสปอร์ต ภัทรพร ม่วงกล่อม
Co-Ed LSM ภ375ก 2561
การควบคุมค่าใช้จ่ายในการใช้หมึกพิมพ์ กรณีศึกษา บริษัท อินเตอร์เทค เทสติ้ง เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด สาขาลาซาล ภัทรวดี สริทัย
Co-Ed LSM ภ378ก 2561
การปรับปรุงกระบวนการการจัดเก็บคลังสินค้าเพื่อลดเวลาในการทำงาน (คลังสินค้า Kerry Express (Thailand) สาขาเทพารักษ์) ศรุตา คุ้มครองเล็ก
Co-Ed LSM ศ282ก 2561
การปรับปรุงพื้นที่จัดเก็บเอกสาร สุกฤตา สังข์เงิน
Co-Ed LSM ส738ก 2561
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า กรณีศึกษา บริษัท ไดนามิค ซีลลิ่ง จำกัด หทัยรัตน์ โถชาลี
Co-Ed LSM ห136ก 2561
< 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 >